หัวข้อ “ประเมินผลงาน 1 ปีรัฐบาล พล.อ.สุรยุทธ์ จุลานนท์ ”
   

       ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์ สถาบันวิจัยมหาวิทยาลัยกรุงเทพ เปิดเผยผลการสำรวจความคิดเห็นของประชาชนเรื่อง
“ประเมินผลงาน 1 ปีรัฐบาล พล.อ.สุรยุทธ์ จุลานนท์” ในโอกาสที่วันที่ 9 ตุลาคม พ.ศ. 2550 เป็นวันครบรอบ 1 ปี
แห่งการทำงานของรัฐบาล พล.อ.สุรยุทธ์ จุลานนท์ ซึ่งศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์ได้ดำเนินการมาอย่างต่อเนื่องตั้งแต่รัฐบาล
ครบรอบการทำงาน 3 เดือน 6 เดือนและ 9 เดือนตามลำดับ โดยการสำรวจครั้งนี้เก็บข้อมูลจากประชาชนอายุ 18 ปีขึ้นไป
ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล จำนวนทั้งสิ้น 1,075 คน เมื่อวันที่ 2 – 7 ตุลาคม พ.ศ. 2550 ได้ผลดังต่อไปนี้

     
   

                    1. ความพึงพอใจของกลุ่มตัวอย่างต่อผลงานของรัฐบาล พล.อ.สุรยุทธ์ จุลานนท์
                        ในภาพรวมได้คะแนน 4.46 (จากคะแนนเต็ม 10) โดยมีคะแนนความพึงพอใจ
                        ผลงานด้านต่างๆ ดังนี้

 
คะแนน
ด้านการรักษาความมั่นคงของรัฐ
4.77
ด้านการต่างประเทศ
4.71
ด้านการเมือง การปกครอง และการบริหาร
4.64
ด้านสังคม
4.41
ด้านเศรษฐกิจ
3.76

                        เปรียบเทียบคะแนนความพึงพอใจกับเมื่อตอนครบรอบ 9 เดือน 6 เดือน และ 3 เดือน
         ปรากฏผลดังนี้
 
คะแนนที่ได้ในการประเมินรอบต่างๆ
(จากคะแนนเต็ม 10)
3 เดือน
6 เดือน
9 เดือน
1 ปี
ด้านการรักษาความมั่นคงของรัฐ
5.31
4.64
4.36
4.77
ด้านการต่างประเทศ
5.24
4.55
4.47
4.71
ด้านการเมือง การปกครอง และการบริหาร
5.57
4.69
4.52
4.64
ด้านสังคม
5.23
4.66
4.33
4.41
ด้านเศรษฐกิจ
5.02
4.13
3.91
3.76
5.27
4.53
4.32
4.46
     
   

                    2. ความคิดเห็นของกลุ่มตัวอย่างต่อทิศทางการเปลี่ยนแปลงของประเทศไทย เมื่อ
                        รัฐบาลฯ เข้ามาบริหารประเทศครบ 1 ปี

 
ร้อยละ
เห็นว่ามีการเปลี่ยนแปลงในทางที่แย่ลง
37.7
เห็นว่าเหมือนเดิม
30.2
เห็นว่ามีการเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีขึ้น
14.3
ไม่แสดงความเห็น
17.8

                       เปรียบเทียบความคิดเห็นต่อทิศทางการเปลี่ยนแปลงของประเทศไทย เมื่อรัฐบาลฯ
         เข้ามาบริหาร ประเทศครบ 1 ปีกับการสำรวจครั้งที่ผ่านๆมา ปรากฏผลดังนี้
 
3 เดือน
(ร้อยละ)
6 เดือน
(ร้อยละ)
9 เดือน
(ร้อยละ)
1 ปี
(ร้อยละ)
เห็นว่ามีการเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีขึ้น
32.0
16.7
14.5
14.3
เห็นว่าเหมือนเดิม
43.1
32.6
31.6
30.2
เห็นว่ามีการเปลี่ยนแปลงในทางที่แย่ลง
24.9
29.9
34.9
37.7
ไม่แสดงความเห็น
-
20.8
19.0
17.8
     
   

                    3. ความคิดเห็นของกลุ่มตัวอย่างเมื่อให้เปรียบเทียบผลงาน 1 ปีที่ผ่านมากับ
                        ความคาดหวังของผู้ตอบแบบสอบถามตอนที่รัฐบาลฯ เข้ามาบริหารประเทศ
                        ผลปรากฏว่า

 
ร้อยละ
เห็นว่าแย่กว่าที่คาดหวังไว้
33.9
เห็นว่าพอๆ กับที่คาดหวังไว้
28.6
เห็นว่าดีกว่าที่คาดหวังไว้
5.3
ไม่ได้คาดหวังไว้
32.2

                       เปรียบเทียบผลงานกับความคาดหวังของผู้ตอบแบบสอบถามตอนที่รัฐบาลฯ เข้ามา
         บริหารประเทศครบ 1 ปี กับการสำรวจครั้งที่ผ่านๆมา ปรากฏผลดังนี้

 
6 เดือน
(ร้อยละ)
9 เดือน
(ร้อยละ)
1 ปี
(ร้อยละ)
ดีกว่าที่คาดหวังไว้
5.7
5.1
5.3
พอๆ กับที่คาดหวังไว้
28.7
30.0
28.6
แย่กว่าที่คาดหวังไว้
36.4
36.1
33.9
ไม่ได้คาดหวังไว้
29.2
28.8
32.2
   
   

                    4. ความคิดเห็นของกลุ่มตัวอย่างต่อผลงานของรัฐบาล พล.อ.สุรยุทธ์ จุลานนท์
                        ที่น่าพอใจมากที่สุด (เป็นคำถามปลายเปิดให้ระบุคำตอบเอง)

 
ร้อยละ
ไม่มีผลงานที่น่าพอใจ
26.23
ไม่สามารถระบุได้
19.04
เรื่องการแก้ปัญหาความไม่สงบภาคใต้แนวทางสันติ
9.35
เรื่องการปราบปรามการทุจริตคอร์รัปชั่น
7.64
เรื่องความซื่อสัตรย์ โปร่งใส
6.39
การสร้างความสัมพันธ์กับต่างประเทศ
5.59
เรื่องการแก้ปัญหาทางการเมืองของประเทศ
5.36
เรื่องการปกครอง และการบริหาร
4.22
เรื่องการประชาสัมพันธ์ผลงานของรัฐบาลให้ประชาชนได้รับทราบ
3.31

เรื่องการแก้ปัญหาสังคม

2.96
เรื่องอื่นๆ อาทิ การผลักดันนโยบายเศรษฐกิจพอเพียง การร่างรัฐธรรมนูญและจัดการ
เลือกตั้ง ความประนีประนอม การแก้ปัญหาการชุมนุมทางการเมือง การศึกษา และ
น่าพอใจทุกเรื่อง
9.91
   
   

                    5. ความคิดเห็นของกลุ่มตัวอย่างต่อผลงานของรัฐบาล พล.อ.สุรยุทธ์ จุลานนท์
                        ที่ไม่น่าพอใจ มากที่สุด (เป็นคำถามปลายเปิดให้ระบุคำตอบเอง)

 
ร้อยละ
เรื่องการแก้ปัญหาเศรษฐกิจ
30.42
ไม่สามารถระบุได้
16.40
เรื่องการแก้ปัญหาความไม่สงบในภาคใต้ให้ยุติลง
13.81
ไม่มีผลงานที่ไม่น่าพอใจ
12.84
เรื่องความซื่อสัตย์ โปร่งใส
4.96
ไม่น่าพอใจทุกเรื่อง
3.88
เรื่องการแก้ปัญหาทางการเมืองของประเทศ
3.78
เรื่องการปราบปรามการทุจริตคอร์รัปชั่น
3.56
เรื่องการแก้ปัญหาสังคม
2.91
เรื่องการแก้ปัญหาหวยบนดิน
1.94
เรื่องอื่นๆ อาทิ การศึกษา การต่างประเทศ การปิดกั้นเสรีภาพของประชาชนและ
สื่อมวลชน การปราบปรามยาเสพติด และการร่างรัฐธรรมนูญและจัดการเลือกตั้ง
5.5
   
   

                    6. ความคิดเห็นของกลุ่มตัวอย่างต่อสิ่งที่อยากให้รัฐบาล พล.อ.สุรยุทธ์ จุลานนท์
                        เร่งดำเนินการมากที่สุดในขณะนี้ คือ (เป็นคำถามปลายเปิดให้ระบุคำตอบเอง)

 
ร้อยละ
แก้ปัญหาเศรษฐกิจ
33.33
แก้ปัญหาความไม่สงบในภาคใต้
18.85
จัดการเลือกตั้งให้เป็นไปอย่างบริสุทธิ์ ยุติธรรม
15.77
ปราบปรามการทุจริตคอร์รัปชั่น
8.21
แก้ปัญหาสังคมและปัญหายาเสพติด
4.87
แก้ปัญหาจราจรและเร่งสร้างระบบขนส่งมวลชน
2.70
สร้างความสมานฉันท์แก่คนในชาติ
2.56
แก้ปัญหาทางการเมืองของประเทศ
2.56
เรียกความเชื่อมั่นและเร่งพัฒนาชาติให้มีความมั่นคง
1.54
เรื่องอื่นๆ อาทิ แก้ปัญหาด้านการศึกษา ปัญหาสิ่งแวดล้อม และปัญหาหวบบนดิน
9.61
   
   

                    7. ความคิดเห็นของกลุ่มตัวอย่างต่อการลาออกของรัฐมนตรีบางคนในรัฐบาลและ
                        การปรับ ครม. ว่าจะกระทบต่อการทำงานของรัฐบาลหรือไม่ พบว่า

 
ร้อยละ
เห็นว่าจะไม่กระทบต่อการทำงานของรัฐบาล
            ( เพราะ เห็นว่าไม่ได้มีการเปลี่ยนแปลงเรื่องตัวบุคคลมากนัก และเชื่อว่านายกฯ
สามารถหาบุคคลอื่นเพื่อมาทำงานได้)
23.3
เห็นว่าจะกระทบต่อการทำงานของรัฐบาล
            (เพราะ เห็นว่าจะทำให้การทำงานและนโยบายไม่ต่อเนื่อง ต้องเริ่มประสานงาน
คนใหม่ และอาจทำให้ขาดความเชื่อมั่นในรัฐบาล)
19.3
ไม่แน่ใจ
57.4
   
   

                    8. ความคิดเห็นของกลุ่มตัวอย่างเกี่ยวกับการเห็นด้วยหรือไม่กับการที่พลเอกสนธิ
                        บุญยรัตกลิน ลาออกจาก ประธาน คมช. เพื่อมาเป็นรองนายกรัฐมนตรี
                        ฝ่ายความมั่นคง พบว่า

 
ร้อยละ
ไม่เห็นด้วย
             (เพราะ เกรงว่าจะเป็นการสืบทอดอำนาจ อาจทำให้สถานการณ์การเมืองแย่ลง
และเห็นว่าทหารไม่ควรยุ่งเกี่ยวกับการเมือง )
27.9
เห็นด้วย
             (เพราะ จะได้ช่วยดูแลบ้านเมืองให้สงบเรียบร้อย และเห็นว่า พลเอกสนธิ
เป็นคนดี)
13.2
ไม่มีความเห็น
58.9
   
   

                    9. ความคิดเห็นของกลุ่มตัวอย่างต่อสถานการณ์บ้านเมืองภายหลังการปรับคณะรัฐมนตรี
                        ของรัฐบาลแล้วคิดว่าสถานการณ์จะดีขึ้นหรือไม่ พบว่า

 
ร้อยละ
คิดว่าสถานการณ์จะเหมือนเดิม
33.3
คิดว่าจะเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีขึ้น
22.1
คิดว่าจะเปลี่ยนแปลงในทางที่แย่ลง
6.7
ไม่แน่ใจ
37.9
   
   

                  10. ความคิดเห็นของกลุ่มตัวอย่างต่อความเชื่อมั่นว่าจะมีการเลือกตั้งในวันที่ 23
                        ธันวาคม 2550 นี้ได้หรือไม่ พบว่า

 
ร้อยละ
เชื่อว่าจะมีการเลือกตั้งได้
51.6
ไม่เชื่อว่าจะมีการเลือกตั้งได้
12.8
ไม่แน่ใจ
35.6
   
   

                  11. ความคิดเห็นของกลุ่มตัวอย่างเกี่ยวกับบุคคลในคณะรัฐบาลชุดปัจจุบัน ที่ประชาชน
                        ให้คะแนนความพึงพอใจการปฏิบัติหน้าที่ สูงที่สุด 3 อันดับแรก ได้แก่
                        (จากคะแนนเต็ม 10)

 
คะแนน
พล.อ.สุรยุทธ์ จุลานนท์ นายกรัฐมนตรี
5.54
นายสุวิทย์ ยอดมณี รมว. กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา
4.93
นพ.มงคล ณ สงขลา รมว. กระทรวงสาธารณสุข และ คุณหญิงไขศรี ศรีอรุณ
รมว. กระทรวงวัฒนธรรม
4.83
   
   

                  12. ความคิดเห็นของกลุ่มตัวอย่างเกี่ยวกับบุคคลในคณะรัฐบาลชุดปัจจุบัน ที่ประชาชน
                        ให้คะแนนความพึงพอใจการปฏิบัติหน้าที่ ต่ำที่สุด 3 อันดับแรก ได้แก่
                        (จากคะแนนเต็ม 10)

 
คะแนน
นายฉลองภพ สุสังกร์กาญจน์ รมว. กระทรวงการคลัง
4.37
นายธีระ สูตะบุตร รมว. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
4.41
พล.ร.อ.ธีระ ห้าวเจริญ รมว. กระทรวงคมนาคม
4.45
   
   

                  13. ความคิดเห็นของกลุ่มตัวอย่างเกี่ยวกับบุคคลในคณะรัฐบาลชุดปัจจุบัน ที่ประชาชน
                        ระบุว่า ไม่รู้จัก/ไม่ได้รับรู้ถึงการทำงานมากที่สุด 3 อันดับแรก ได้แก่

 
คะแนน
ศ.ดร.ยงยุทธ์ ยุทธวงศ์ รมว. กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
37.4
นายปิยสวัสดิ์ อัมระนันทน์ รมว. กระทรวงพลังงาน
36.4
นายชาญชัย ลิขิตจิตถะ รมว. กระทรวงยุติธรรม
36.1
   
 

   
 
รายละเอียดในการสำรวจ
  วัตถุประสงค์ของการสำรวจ:
   

       เพื่อสอบถามความพึงพอใจของประชาชนที่มีต่อผลการดำเนินงานของรัฐบาล พล.อ.สุรยุทธ์ จุลานนท์ และ
การปฏิบัติหน้าที่ของคณะรัฐมนตรี ในโอกาสครบรอบ 1 ปี

  ระเบียบวิธีการสำรวจ:
   

       การสำรวจใช้วิธีสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน (Multi-Stage Sampling) โดยการสุ่มเขตการปกครอง
จำนวน 30 เขต จาก 50 เขตของกรุงเทพมหานคร ทั้งเขตชั้นใน เขตชั้นกลาง และเขตชั้นนอก ได้แก่ เขตคลองสาน
คลองสามวา ดอนเมือง ดินแดง ตลิ่งชัน ทวีวัฒนา ทุ่งครุ บางกะปิ บางเขน บางคอแหลม บางซื่อ บางนา บางรัก บึงกุ่ม
ปทุมวัน ประเวศ ป้อมปราบ พญาไท พระโขนง พระนคร มีนบุรี ราชเทวี ราษฎร์บูรณะ ลาดพร้าว วังทองหลาง
สวนหลวง สะพานสูง สัมพันธวงศ์ สาทร สายไหม และปริมณฑล 3 จังหวัด ได้แก่นนทบุรี ปทุมธานี และสมุทรปราการ
จากนั้นสุ่มถนน และประชากรเป้าหมายอายุ 18 ปีขึ้นไป ได้กลุ่มตัวอย่างทั้งสิ้น 1,075 คน เป็นเพศชายร้อยละ 51.7
และเพศหญิงร้อยละ 48.3

  ความคลาดเคลื่อน (Margin of Error): ในการประมาณการขนาดตัวอย่างใช้ความคลาดเคลื่อน  5%
                                                                        ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
 

วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล: การเก็บข้อมูลใช้แบบสอบถามสัมภาษณ์ความคิดเห็นของประชากรเป้าหมายที่สุ่มได้

 

ระยะเวลาในการเก็บข้อมูล: 2 - 7 ตุลาคม 2550

  วันที่เผยแพร่ผลการสำรวจ: 9 ตุลาคม 2550
  สรุปผลการสำรวจ:
   
ตารางแสดงการประมวลผลข้อมูล
   
ตารางที่ 1 : ข้อมูลประชากรศาสตร์
   
 
จำนวน
ร้อยละ
เพศ:    
             ชาย
556
51.7
             หญิง
519
48.3
อายุ:
 
 
             18 - 25 ปี
330
30.7
             26 - 35 ปี
343
31.9
             36 - 45 ปี
239
22.2
             46 ปีขึ้นไป
163
15.2
การศึกษา:
 
 
             ต่ำกว่าปริญญาตรี
359
33.4
             ปริญญาตรี
629
58.5
             สูงกว่าปริญญาตรี
87
8.1
อาชีพ:
 
 
             ข้าราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ
112
10.4
             ค้าขาย/ธุรกิจส่วนตัว
221
20.6
             พนักงาน/ลูกจ้างบริษัทเอกชน
326
30.3
             รับจ้างทั่วไป
142
13.2
             พ่อบ้าน แม่บ้าน เกษียณอายุ
64
6.0
             อื่นๆ อาทิ นิสิต นักศึกษา อาชีพอิสระ เกษตรกร ฯลฯ
210
19.5
     
   

ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์ ( Email: research@bu.ac.th )

   

โทร. 0-2350-3500 ต่อ 1776