หัวข้อ “ที่สุดแห่งปี 2550 ในสายตาคนกรุงเทพฯ”
   

       ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์ สถาบันวิจัยมหาวิทยาลัยกรุงเทพได้ดำเนินการสำรวจความคิดเห็นเรื่อง
“ที่สุดแห่งปี 2550 ในสายตาคนกรุงเทพฯ”  โดยเก็บข้อมูลเมื่อวันที่ 21-26 ธันวาคมที่ผ่านมา จากประชาชน
ในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 1,198 คน ด้วยคำถามปลายเปิดให้ผู้ตอบแบบสอบถามระบุคำตอบเอง โดยไม่มีข้อ
คำตอบให้เลือก สรุปผลได้ดังนี้

     
   

                    1. ความคิดเห็นของกลุ่มตัวอย่างต่อข่าว/เหตุการณ์ในประเทศไทยที่สร้าง
                        ความปิติยินดีมากที่สุดในรอบปี

 
ร้อยละ
การเฉลิมฉลองเนื่องในปีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๘๐ พรรษา
46.0
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงหายจากพระอาการประชวร
40.3
การจัดการเลือกตั้ง วันที่ 23 ธันวาคม 2550
6.7
ประเทศไทยเป็นเจ้าภาพการแข่งขันกีฬาซีเกมส์ครั้งที่ 24 และชัยชนะของนักกีฬาไทย
1.8
อื่นๆ อาทิ การยุบพรรคไทยรักไทย การลดราคาน้ำมัน เยาวชนไทยได้เหรียญทอง
               โอลิมปิก วิชาการ หลวงพ่อคูณออกจากโรงพยาบาล ฯลฯ
4.8
ไม่มีข่าว/เหตุการณ์ใดที่สร้างความปลื้มปิติยินดีมากที่สุด
0.4
     
   

                    2. ความคิดเห็นของกลุ่มตัวอย่างต่อข่าว/เหตุการณ์ในประเทศไทยที่สร้างความ
                        เศร้าสะเทือนใจมากที่สุดในรอบปี

 
ร้อยละ
เหตุการณ์ความไม่สงบใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้
33.0
ข่าวการประชวรของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
18.1
ข่าวการประชวรของสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาส
ราชนครินทร์
14.2
เหตุการณ์ความขัดแย้งทางการเมือง
11.2
เหตุการณ์เครื่องบินของสายการบินวันทูโกตกที่ท่าอากาศยานภูเก็ต
6.2
การเสียชีวิตของบิ๊ก ดีทูบี
3.0
อื่นๆ อาทิ การมรณภาพของหลวงพ่อปัญญา นันทภิกขุ การปาหินใส่รถยนต์
               การทุจริต คอร์รัปชันของผู้มีอำนาจในบ้านเมือง คดีข่มขื่นฆ่าเด็กหญิง ฯลฯ
14.0
ไม่มีข่าว/เหตุการณ์ใดที่สร้างความเศร้าสะเทือนใจมากที่สุด
0.3
   
   

                    3. ความคิดเห็นของกลุ่มตัวอย่างต่อบุคคลในสังคมไทยที่มีพฤติกรรมน่าชื่นชมยกย่อง
                        มากที่สุดในรอบปี

 
ร้อยละ
พล.อ. สุรยุทธ์ จุลานนท์
18.5
พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร
9.0
เจ้าหน้าที่และครูที่ปฏิบัติงานใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้
8.7
พล.อ. สนธิ บุญยรัตกลิน
8.6
พล.อ. เปรม ติณสูลานนท์
7.4
นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ
5.1
นายอุดม กิตติกรเจริญ (บิดาของบิ๊ก ดีทูบี)
2.9
นายสมัคร สุนทรเวช
2.8
นายอภิรักษ์ โกษะโยธิน
2.4
ครูจูหลิง ปงกันมูล
2.3
พล.ต.อ.เสรีพิสุทธิ์ เตมียาเวส
2.2
พล.ต.ต. นพดล เผือกโสมณ
2.2
นักกีฬาไทยที่แข่งขันกีฬาซีเกมส์
2.0
นักเรียนไทยที่ได้รางวัลเหรียญทองโอลิมปิก
1.6
พระมหาวุฒิชัย วชิรเมธี
1.2
อื่นๆ อาทิ นางปวีณา หงสกุล/ พระมหาสมปอง กตปุญโญ/ นางระเบียบรัตน์
               พงษ์พานิช/ นายปัญญา นิรันดร์กุล/ ปู่เย็น/ นายสนธิ ลิ้มทองกุล/
               นายบรรหาร ศิลปอาชา/ คุณหญิงจารุวรรณ เมณฑกา ฯลฯ
14.9
ไม่มีบุคคลใดที่มีพฤติกรรมน่าชื่นชมยกย่องมากที่สุด
8.2
     
   

                    4. ความคิดเห็นของกลุ่มตัวอย่างต่อบุคคลในสังคมไทยที่มีพฤติกรรมน่าผิดหวัง
                        มากที่สุดในรอบปี

 
ร้อยละ
พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร
35.3
พล.อ. สนธิ บุญยรัตกลิน
15.3
นายสมัคร สุนทรเวช
7.8
พล.อ. สุรยุทธ์ จุลานนท์
6.2
นายสนธิ ลิ้มทองกุล
2.3
กรรชัย กำเนิดพลอย
2.1
นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ
1.7
กฤตธีรา อินพรวิจิตร
1.7
เมย์ เฟื่องอารมณ์
1.4
พัชราภา ไชยเชื้อ
1.4
อื่นๆ อาทิ นายบรรหาร ศิลปอาชา/ พล.อ. เปรม ติณสูลานนท์/ ภราดร ศรีชาพันธุ์/
               สมชาย เข็มกลัด/ นายเนวิน ชิดชอบ/ นายอภิรักษ์ โกษะโยธิน/
               อมิตตา ชินสำเร็จ/ นางระเบียบรัตน์ พงษ์พานิช ฯลฯ
21.2
ไม่มีบุคคลใดที่มีพฤติกรรมน่าผิดหวังมากที่สุด
3.6
   
   

                    5. ความคิดเห็นของกลุ่มตัวอย่างต่อหน่วยงาน/องค์กรของไทยที่มีการดำเนินงาน
                        น่าชื่นชมยกย่องมากที่สุดในรอบปี

 
ร้อยละ
หน่วยทหารที่ปฏิบัติงานในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้
8.2
สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
7.3
คณะกรรมการการเลือกตั้ง (กกต.)
7.2
คณะกรรมการตรวจสอบการกระทำที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่รัฐ (คตส.)
6.7
โรงพยาบาลศิริราช
6.4
รัฐบาล พล.อ.สุรยุทธ์ จุลานนท์
4.0
สถานีโทรทัศน์ทีไอทีวี
3.9
ศาลปกครอง
3.4
บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)
3.0
การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.)
2.4
ศาลรัฐธรรมนูญ
2.3
คณะปฏิรูปการปกครอง ในระบอบประชาธิปไตยฯ (คปค.)
1.7
บริษัท ไปรษณีย์ไทย จำกัด
1.2
กระทรวงเทคโนโลยีและการสื่อสาร (ไอซีที)
1.1
อื่นๆ อาทิ กระทรวงไอซีที/ พรรคประชาธิปัตย์/ สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและ
               ปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ปปช.)/ พรรคพลังประชาชน/
               สำนักงานป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน (ปปง.)/ กระทรวงพลังงาน/
               สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (กลต.)/
               ปูนซิเมนต์ไทย/ กระทรวงศึกษาธิการ/ กระทรวงสาธารณสุข ฯลฯ
27.4
ไม่มีหน่วยงาน/ องค์กรใดที่มีการดำเนินงานน่าชื่นชมยกย่องมากที่สุด
13.8
   
   

                    6. ความคิดเห็นของกลุ่มตัวอย่างต่อหน่วยงาน/องค์กรของไทยที่มีการดำเนินงาน
                        น่าผิดหวังมากที่สุดในรอบปี

 
ร้อยละ
รัฐบาล พล.อ.สุรยุทธ์ จุลานนท์
14.6
องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ (ขสมก.)
11.3
สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
7.1
คณะกรรมการการเลือกตั้ง (กกต.)
6.8
บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)
6.4
คณะกรรมการตรวจสอบการกระทำที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่รัฐ (คตส.)
3.8
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
3.5
กองทัพบก
2.9
คณะปฏิรูปการปกครอง ในระบอบประชาธิปไตยฯ (คปค.)/ คณะมนตรีความมั่นคง
แห่งชาติ (คมช.)
2.6
บริษัท ท่าอากาศยานไทย
2.0
กระทรวงพลังงาน
1.8
ศาลรัฐธรรมนูญ
1.1
การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย
1.1
อื่นๆ อาทิ กระทรวงกลาโหม/ กรมสอบสวนคดีพิเศษ (ดีเอสไอ) /สำนักงาน
               คณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค (สคบ.)/ ธนาคารแห่งประเทศไทย/
               พรรคพลังประชาชน/ พรรคประชาธิปัตย์ ฯลฯ
25.9
ไม่มีหน่วยงาน/ องค์กรใดที่มีการดำเนินงานน่าผิดหวังที่สุด
9.1
   
   

                    7. ความคิดเห็นของกลุ่มตัวอย่างต่อสิ่งที่อยากได้เป็นของขวัญปีใหม่จาก
                        รัฐบาลชุดใหม่มากที่สุด

 
ร้อยละ
ทำให้เศรษฐกิจดีขึ้น
22.2
ซื่อสัตย์สุจริต ไม่โกงกิน
15.4
สมานฉันท์/เลิกทะเลาะกัน/ทำให้ประเทศชาติสงบ/ไม่แบ่งฝ่าย
13.2
แก้ปัญหาค่าครองชีพ/ ราคาน้ำมัน/ก๊าซหุงต้ม/ ปัญหาปากท้อง
10.2
ทำเพื่อประเทศชาติ/ เห็นแก่ประโยชน์ของชาติมากกว่าประโยชน์ส่วนตัว
8.5
ปราบผู้มีอิทธิพล/ ยกเลิก พรบ.ความมั่นคง
8.0
ขึ้นค่าแรง/ ขึ้นเงินเดือน/ เพิ่มสวัสดิการแก่ประชาชน
6.1
แก้ปัญหาความไม่สงบในภาคใต้ร
5.6
ทำตามนโยบายที่หาเสียงไว้
2.8
แก้ปัญหาจราจร/ ระบบขนส่งสาธารณะ
2.2
ปฏิรูปการศึกษา/ เลิกนำมหาวิทยาลัยออกนอกระบบ
0.8
อื่นๆ อาทิ ทำอย่างที่ทักษิณเคยทำ/ ลดภาษี แก้รัฐธรรมนูญปี 50/ ปราบคอร์รัปชั่น
               ยึดแนวเศรษฐกิจพอเพียงในการบริหารประเทศ ฯลฯ
4.6
ไม่มีสิ่งใดที่อยากได้เป็นของขวัญปีใหม่จากรัฐบาล
0.4
   
 

   
 
รายละเอียดในการสำรวจ
  วัตถุประสงค์ของการสำรวจ:
   

       เพื่อสอบถามข้อมูลความคิดเห็นของประชาชนในเขตกรุงเทพมหานครเกี่ยวกับเหตุการณ์ บุคคล และองค์กร
ที่เป็นที่สุด แห่งปี 2550 ในประเด็นต่อไปนี้
                        1. ข่าว/เหตุการณ์ในประเทศไทยที่สร้างความปิติยินดีมากที่สุด
                        2. ข่าว/เหตุการณ์ในประเทศไทยที่สร้างความเศร้าสะเทือนใจมากที่สุด
                        3. บุคคลในสังคมไทยที่มีพฤติกรรมน่าชื่นชมยกย่องมากที่สุด
                        4. บุคคลในสังคมไทยที่มีพฤติกรรมน่าผิดหวังมากที่สุด
                        5. หน่วยงาน/องค์กรของไทยที่มีการดำเนินงานน่าชื่นชมยกย่องมากที่สุด
                        6. หน่วยงาน/องค์กรของไทยที่มีการดำเนินงานน่าผิดหวังมากที่สุด
                        7. สิ่งที่อยากได้เป็นของขวัญปีใหม่จากรัฐบาลชุดใหม่

  ระเบียบวิธีการสำรวจ:
   

       การสำรวจใช้วิธีสุ่มตัวอย่างประชาชนอายุตั้งแต่ 22 ปีขึ้นไปที่อาศัยอยู่ในกรุงเทพมหานครจำนวน 28 เขต
ได้แก่ คลองเตย จตุจักร ดอนเมือง ดินแดง ดุสิต ธนบุรี บางกอกน้อย บางกอกใหญ่ บางกะปิ บางเขน บางซื่อ บางพลัด
ปทุมวัน หนองแขม ประเวศ ป้อมปราบศัตรูพ่าย พญาไท พระนคร มีนบุรี ราษฎร์บูรณะ ลาดกระบัง ลาดพร้าว
สวนหลวง สะพานสูง สัมพันธวงศ์ สาทร สายไหม และหลักสี่   โดยในแต่ละเขตทำการสุ่มถนน แล้วจึงสุ่มประชากร
เป้าหมายที่จะสัมภาษณ์   ได้กลุ่มตัวอย่างทั้งสิ้นจำนวน 1,198 คน เป็นชายร้อยละ 45.7 และหญิงร้อยละ 54.3

  ความคลาดเคลื่อน (Margin of Error): ในการประมาณการขนาดตัวอย่างใช้ความคลาดเคลื่อน  5%
                                                                        ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
 

วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล: การเก็บข้อมูลใช้แบบสอบถามสัมภาษณ์ความคิดเห็นของประชากรเป้าหมายที่สุ่มได้

 

ระยะเวลาในการเก็บข้อมูล: 21 - 26   ธันวาคม 2550

  วันที่เผยแพร่ผลการสำรวจ: 28 ธันวาคม 2550
  สรุปผลการสำรวจ:
   
ตารางแสดงการประมวลผลข้อมูล
   
ตารางที่ 1 : ข้อมูลประชากรศาสตร์
   
 
จำนวน
ร้อยละ
เพศ:    
             ชาย
547
45.7
             หญิง
651
54.3
อายุ:
 
 
             22 - 35 ปี
636
53.1
             36 - 45 ปี
361
30.1
             46 ปีขึ้นไป
201
16.8
การศึกษา:
 
 
             ต่ำกว่าปริญญาตรี
483
40.3
             ปริญญาตรี
659
55.0
             สูงกว่าปริญญาตรี
56
4.7
อาชีพ:
 
 
             ข้าราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ
174
14.5
             พนักงาน/ลูกจ้างบริษัทเอกชน
413
34.5
             ค้าขาย/ธุรกิจส่วนตัว
297
24.8
             รับจ้างทั่วไป
138
11.5
             พ่อบ้าน แม่บ้าน เกษียณอายุ
71
5.9
             อื่นๆ อาทิ นิสิต นักศึกษา อาชีพอิสระ เกษตรกร ฯลฯ
105
8.8
     
   

ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์ ( Email: research@bu.ac.th )

   

โทร. 0-2350-3500 ต่อ 1776