Connect to DB
  หัวข้อ ภาพลักษณ์ประเทศไทยกับทิศทางการสื่อสารของรัฐบาลชุดใหม่
  ระเบียบวิธีการสำรวจ:
   

         การวิจัยเชิงสำรวจเรื่อง “ภาพลักษณ์ประเทศไทยกับทิศทางการสื่อสารของรัฐบาลชุดใหม่” ได้ดำเนินการเก็บข้อมูล
ภาคสนามเมื่อวันที่ 14-23 มกราคม 2551 โดยการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน (Multi-Stage Sampling)
โดยการสุ่มเขตการปกครองจำนวน 20 เขต จาก 50 เขตของกรุงเทพมหานคร ทั้งเขตชั้นใน เขตชั้นกลาง และเขตชั้นนอก
ปริมณฑล  3 จังหวัดได้แก่ จังหวัดปทุมธานี  นนทบุรี  สมุทรปราการ และจังหวัดหัวเมืองเพื่อเป็นตัวแทนในแต่ละภาค
ได้แก่ เชียงใหม่  ขอนแก่น  นครศรีธรรมราช  จันทบุรี และลพบุรี จากนั้นจึงสุ่มถนนและประชากรเป้าหมายอายุ 21 ปีขึ้นไป
ได้กลุ่มตัวอย่างทั้งสิ้น 2,088 คน  เป็นเพศชายร้อยละ 48.8 และเพศหญิงร้อยละ 51.2

   
  ระยะเวลาในการเก็บข้อมูล: 14-23 มกราคม 2551
  วันที่เผยแพร่ผลการสำรวจ: 5 กุมภาพันธ์ 2551
  สรุปผลการสำรวจ:
   
กราฟแสดงการประมวลผลข้อมูล
   
                          กราฟที่ 1: ความคิดเห็นของกลุ่มตัวอย่างต่อความสนใจติดตามข่าวสารความเป็นไปของประเทศที่รัฐบาล
เผยแพร่สู่ประชาชนในรอบปีที่ผ่านมา พบว่า
 


   

     
   
                          กราฟที่ 2: ความคิดเห็นของกลุ่มตัวอย่างที่ระบุว่า สนใจ ติดตามข่าวสารให้เหตุผลว่า (เป็นคำถามปลายเปิดให้
ผู้ตอบระบุเอง )
 


   

     
   
                          กราฟที่ 3: ความคิดเห็นของกลุ่มตัวอย่างที่ระบุว่า ไม่สนใจ ติดตามข่าวสารให้เหตุผลว่า (เป็นคำถามปลายเปิด
ให้ผู้ตอบระบุเอง)
 


   

     
   
                          กราฟที่ 4: ความคิดเห็นของกลุ่มตัวอย่างต่อภาพลักษณ์ของประเทศไทยในปัจจุบันนั้น กลุ่มตัวอย่างเห็นว่า
ประเทศไทยมีภาพลักษณ์โดยรวมไม่ค่อยดีนัก โดยเมื่อพิจารณาภาพลักษณ์ในแต่ละด้าน พบว่า
 


   

     
   
                          กราฟที่ 5: ความคิดเห็นของกลุ่มตัวอย่างต่อจุดอ่อนในการสร้างภาพลักษณ์ของประเทศไทยที่ผ่านมา พบว่า
(ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ)
 


   

     
   
                          กราฟที่ 6: ความคิดเห็นของกลุ่มตัวอย่างต่อความต้องการ ที่จะให้รัฐบาลชุดใหม่ให้ความสำคัญกับการสร้าง
ภาพลักษณ์ประเทศไทยมากน้อยเพียงใด เมื่อเปรียบเทียบกับภารกิจด้านอื่นๆ พบว่า
 


   

     
   
                          กราฟที่ 7: ความคิดเห็นของกลุ่มตัวอย่างต่อจุดเด่นของประเทศไทยที่รัฐบาลชุดใหม่ควรนำมาใช้เป็นจุดขาย
ในการสร้างภาพลักษณ์ประเทศไทย พบว่า (เป็นคำถามปลายเปิดให้ผู้ตอบระบุเอง)
 


   

     
   
                          กราฟที่ 8: ความคิดเห็นของกลุ่มตัวอย่างต่อรูปแบบการสร้างภาพลักษณ์ประเทศไทยที่ต้องการให้รัฐบาล
ชุดใหม่ดำเนินการ พบว่า
 


   

   
     
    สามารถทำการ Vote ได้วันละ 1 ครั้ง
    Vote:  ดีมาก(5) ดี (4) ปานกลาง(3) พอใช้ (2) แย่ (1)  
    Download document file:   ( %EF%BF%BD%D2%BE%EF%BF%BD%D1%A1%C9%B3%EF%BF%BD%EF%BF%BD%EF%BF%BD%EF%BF%BD%EF%BF%BD%EF%BF%BD%C2%A1%D1%BA%EF%BF%BD%EF%BF%BD%C8%B7%D2%A7%EF%BF%BD%EF%BF%BD%EF%BF%BD%EF%BF%BD%EF%BF%BD%EF%BF%BD%EF%BF%BD%EF%BF%BD%EF%BF%BD%C3%A2%CD%A7%EF%BF%BD%D1%B0%EF%BF%BD%EF%BF%BD%C5%AA%D8%B4%EF%BF%BD%EF%BF%BD%EF%BF%BD%EF%BF%BD )
   
   

ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์ ( Email: research@bu.ac.th )

   

โทร. 0-2350-3500 ต่อ 1776