หัวข้อ ประชาชนคิดอย่างไรกับการอภิปรายไม่ไว้วางใจ  
     
  วัตถุประสงค์ในการสำรวจ:  
           เพื่อสอบถามความคิดเห็นของประชาชนในเขตกรุงเทพมหานครในประเด็นต่อไปนี้
                1. การติดตามการเปิดสมัยประชุมสภาผู้แทนราษฎร เพื่อลงมติไม่ไว้วางใจ นายกรัฐมนตรี
                    และรัฐมนตรี
                2. ความคิดเห็นต่อการไว้วางใจให้นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีที่ถูกอภิปรายฯ ปฏิบัติงาน
                    ในหน้าที่ต่อไป
                3. ประเด็นในการอภิปรายที่ยังค้างคาใจ
                4. คะแนนการอภิปรายของฝ่ายรัฐบาล ฝ่ายค้าน และสมาชิกวุฒิสภา(สว.)
                5. ผู้อภิปรายฝ่ายรัฐบาล ฝ่ายค้าน และสมาชิกวุฒิสภา(สว.) ที่ชื่นชอบมากที่สุด
                6. ความเชื่อถือที่มีต่อข้อมูลที่ฝ่ายรัฐบาลและฝ่ายค้านนำมาอภิปรายในครั้งนี้
                7. ความคิดเห็นต่อสถานการณ์การเมืองไทยภายหลังการอภิปราย
                8. สิ่งที่ต้องการให้เกิดขึ้นหลังการอภิปรายครั้งนี้
 
     
  ระเบียบวิธีการสำรวจ:  
           การสำรวจใช้วิธีสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน (Multi-Stage Sampling) โดยการสุ่มเขต
การปกครองจำนวน 28 เขต จาก 50 เขตของกรุงเทพมหานคร ทั้งเขตชั้นใน เขตชั้นกลาง และ
เขตชั้นนอก ได้แก่ จตุจักร จอมทอง ดอนเมือง ดินแดง ตลิ่งชัน ทุ่งครุ บางขุนเทียน บางเขน บางซื่อ
บางนา บางบอน ปทุมวัน ประเวศ ป้อมปราบฯ พญาไท พระโขนง ภาษีเจริญ มีนบุรี ยานนาวา ราชเทวี
ลาดพร้าว วัฒนา สวนหลวง สะพานสูง สัมพันธวงศ์ สาทร หลักสี่ และห้วยขวาง จากนั้นสุ่มถนน
และประชากรเป้าหมายอายุ 20 ปีขึ้นไป ได้กลุ่มตัวอย่างทั้งสิ้น 1,116 คน เป็นเพศชาย ร้อยละ 51.7
และเพศหญิง ร้อยละ 48.3
 
     
  ระยะเวลาในการเก็บข้อมูล: 28 - 29 มิถุนายน 2551  
     
  วันที่เผยแพร่ผลการสำรวจ: 1 กรกฎาคม 2551  
     
  สรุปผลการสำรวจ: กราฟแสดงการประมวลผลข้อมูล  
                  กราฟที่ 1: เมื่อสอบถามประชาชนต่อการติดตามรับชม/รับฟัง หรือทราบข้อมูลการประชุม
สภาผู้แทนราษฎรเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจ นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีเป็นรายบุคคล เมื่อวันที่ 23-26
มิถุนายน ที่ผ่านมา พบว่า
 
 
 
     
                  กราฟที่ 2: ความเห็นของประชาชนต่อความไว้วางใจให้นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรี 7 คน
ปฏิบัติงานในหน้าที่ต่อไป พบว่า
 
     
                  กราฟที่ 3: ภายหลังการอภิปรายเสร็จสิ้นลง ประเด็นในการอภิปรายที่ยังค้างคาใจ
ประชาชนอยู่ คือ (เป็นคำถามปลายเปิดให้ผู้ตอบระบุเอง)
 
     
                  กราฟที่ 4: ผู้อภิปรายฝ่ายรัฐบาลที่ประชาชนชื่นชอบการอภิปราย ได้แก่  
     
                  กราฟที่ 5: ผู้อภิปรายฝ่ายค้านที่ประชาชนชื่นชอบการอภิปรายมากที่สุด 3 อันดับแรก ได้แก่
(เป็นคำถามปลายเปิดให้ผู้ตอบระบุเอง)
 
     
                  กราฟที่ 6: ผู้อภิปรายที่เป็นสมาชิกวุฒิสภา(สว.) ที่ประชาชนชื่นชอบการอภิปรายมากที่สุด
3 อันดับแรก ได้แก่ (เป็นคำถามปลายเปิดให้ผู้ตอบระบุเอง)
 
     
                  กราฟที่ 7: เมื่อให้ประชาชนเปรียบเทียบความน่าเชื่อถือของข้อมูลที่นำมาใช้ประกอบ
การอภิปรายของฝ่ายรัฐบาลและฝ่ายค้าน พบว่า
 
 
 
     
                  กราฟที่ 8: ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับสถานการณ์การเมืองไทยภายหลังการอภิปราย
พบว่า
 
 
 
     
                  กราฟที่ 9: สิ่งที่ประชาชนต้องการให้เกิดขึ้น หลังจากการอภิปรายครั้งนี้ คือ  
 
 
       
       
     
 
สามารถทำการ Vote ได้วันละ 1 ครั้ง
 
 
Vote:  ดีมาก(5) ดี (4) ปานกลาง(3) พอใช้ (2) แย่ (1)  
 
 
Download document file:   (  %EF%BF%BD%EF%BF%BD%D0%AA%D2%AA%EF%BF%BD%EF%BF%BD%D4%B4%EF%BF%BD%EF%BF%BD%EF%BF%BD%D2%A7%EF%BF%BD%C3%A1%D1%BA%EF%BF%BD%EF%BF%BD%EF%BF%BD%EF%BF%BD%EF%BF%BD%D4%BB%EF%BF%BD%EF%BF%BD%EF%BF%BD%EF%BF%BD%EF%BF%BD%EF%BF%BD%EF%BF%BD%EF%BF%BD%EF%BF%BD%EF%BF%BD%D2%A7%EF%BF%BD  )
 
     
   
 
ศูนย์วิจัยมหาวิทยาลัยกรุงเทพ (กรุงเทพโพลล์)       Email: research@bu.ac.th 
 
 
โทร. 0-2350-3500 ต่อ 1776