Connect to DB
  หัวข้อ อนาคตการเมืองไทยหลังคดียุบพรรคการเมือง
  ระเบียบวิธีการสำรวจ:
   

         การสำรวจใช้วิธีสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน (Multi-Stage Sampling) โดยการสุ่มเขต
การปกครองจำนวน 23 เขต จาก 50 เขตของกรุงเทพมหานคร ทั้งเขตชั้นใน เขตชั้นกลาง และเขตชั้นนอก
ได้แก่ เขตคลองเตย คลองสาน จตุจักร ดอนเมือง ดุสิต ตลิ่งชัน บางเขน บางคอแหลม บางแค บางนา
บางพลัด บึงกุ่ม ประเวศ พญาไท พระนคร มีนบุรี ราชเทวี ลาดกระบัง ลาดพร้าว สายไหม หนองแขม
หนองจอก หลักสี่ และปริมณฑล 3 จังหวัด ได้แก่ นนทบุรี ปทุมธานี และสมุทรปราการ จากนั้นสุ่มถนน
และประชากรเป้าหมายอายุ 18 ปีขึ้นไปที่ระบุว่าติดตามข่าวเรื่องคดียุบพรรคการเมือง ได้กลุ่มตัวอย่าง
ทั้งสิ้น 1,032 คน เป็นเพศชายร้อยละ 55.1 และเพศหญิงร้อยละ 44.9

   
  ระยะเวลาในการเก็บข้อมูล: 2 - 4 มิถุนายน 2550
  วันที่เผยแพร่ผลการสำรวจ: 5  มิถุนายน 2550
  สรุปผลการสำรวจ:
   
กราฟแสดงการประมวลผลข้อมูล
   
                          กราฟที่ 1: ความคิดเห็นต่อผลการวินิจฉัยคดียุบพรรคการเมืองของตุลาการรัฐธรรมนูญ
ในภาพรวม



1) ความคิดเห็นต่อการวินิจฉัยไม่ยุบพรรคประชาธิปัตย์


2) ความคิดเห็นต่อการวินิจฉัยไม่เพิกถอนสิทธิเลือกตั้งกรรมการบริหารพรรคประชาธิปัตย์เป็นเวลา 5 ปี


3) ความคิดเห็นต่อการวินิจฉัยให้ยุบพรรคไทยรักไทย


4) ความคิดเห็นต่อการวินิจฉัยให้เพิกถอนสิทธิเลือกตั้งกรรมการบริหารพรรคไทยรักไทยเป็นเวลา 5 ปี
   

   
                          กราฟที่ 2: ความเชื่อมั่นต่ออนาคตการเมืองไทยหลังตุลาการรัฐธรรมนูญมีคำวินิจฉัย
ในคดียุบพรรคการเมือง
   

   
                          กราฟที่ 3:  ความคิดเห็นต่อการยกเลิกประกาศคณะปฏิรูปการปกครองฯ ฉบับที่ 15 และ 27
ที่ห้ามดำเนินกิจกรรมทางการเมืองและตั้งพรรคการเมืองใหม่พบว่า
   

   
                          กราฟที่ 4: ความคิดเห็นต่อการอนุญาตให้มีการจดทะเบียนพรรคใหม่โดยใช้ชื่อ “ไทยรักไทย” อย่างเดิม
   

   
                          กราฟที่ 5: เมื่อถามกลุ่มตัวอย่างที่ระบุว่าเลือกพรรคไทยรักไทยในการเลือกตั้งที่ผ่านมา ซึ่งมีอยู่
ร้อยละ 45.5 ของกลุ่มตัวอย่างทั้งหมดว่าหากมีการจัดตั้งพรรคใหม่โดยมีอดีตแกนนำพรรคไทยรักไทย
ให้การสนับสนุนอยู่เบื้องหลังจะลงคะแนนเลือกพรรคใหม่ดังกล่าวหรือไม่ พบว่า
   

   
                          กราฟที่ 6: ความคิดเห็นต่อการเลื่อนการเลือกตั้งให้เร็วขึ้นจากเดิมที่เคยกำหนดไว้ในเดือนธันวาคม 2550


   

   
                          กราฟที่ 7: ในการเลือกตั้งครั้งต่อไปอยากได้รัฐบาลพรรคเดียวหรือรัฐบาลผสมหลายพรรค


   

   
                          กราฟที่ 8: บุคคลที่ประชาชนอยากให้เป็นนายกรัฐมนตรีคนต่อไป


   

   
                          กราฟที่ 9: ความคิดเห็นต่อสิ่งที่คิดว่า คมช. ควรทำมากที่สุดในช่วงนี้


   

   
     
    สามารถทำการ Vote ได้วันละ 1 ครั้ง
    Vote:  ดีมาก(5) ดี (4) ปานกลาง(3) พอใช้ (2) แย่ (1)  
    Download document file:   ( อนาคตการเมืองไทยหลังคดียุบพรรคการเมือง )
   
   

ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์ ( Email: research@bu.ac.th )

   

โทร. 0-2350-3500 ต่อ 1776