Connect to DB
  หัวข้อ เสรีภาพและความรับผิดชอบของสื่อหนังสือพิมพ์ท่ามกลางวิกฤตประเทศ
  ระเบียบวิธีการสำรวจ:
   

         การสำรวจใช้วิธีสุ่มตัวอย่างประชาชนอายุ 18ปีขึ้นไปตามสัดส่วนของประชากรในแต่ละภาค
โดยเลือกเก็บข้อมูล เฉพาะผู้ที่ระบุว่าอ่านหนังสือพิมพ์รายวันระดับชาติอย่างน้อยสัปดาห์ละ 1 วัน ใน
30 จังหวัดจากทุกภาคของประเทศ ได้แก่  กรุงเทพมหานคร  นนทบุรี ปทุมธานี สมุทรปราการ
กาญจนบุรี ราชบุรี สระบุรี ลพบุรี ชลบุรี พะเยา เชียงใหม่ น่าน เชียงราย พิษณุโลก สุโขทัย ขอนแก่น
ชัยภูมิ สุรินทร์ อุบลราชธานี ศรีษะเกษ ยโสธร อำนาจเจริญ สกลนคร อุดรธานี หนองคาย ร้อยเอ็ด
สุราษฎร์ธานี ภูเก็ต และนราธิวาส  จำนวน 2,060  คน เป็นเพศชายร้อยละ 49.8  เพศหญิง
ร้อยละ 50.2 เก็บข้อมูลเมื่อวันที่ 5-13 มิถุนายน 2550 โดยใช้แบบสอบถามสัมภาษณ์ในขั้นต้น
จากนั้นสุ่มเลือกบางส่วนมาสัมภาษณ์เชิงลึกเพิ่มเติมในบางประเด็น

   
  ระยะเวลาในการเก็บข้อมูล: 5 - 13 มิถุนายน 2550
  วันที่เผยแพร่ผลการสำรวจ: 28  มิถุนายน 2550
  สรุปผลการสำรวจ:
   
กราฟแสดงการประมวลผลข้อมูล
   
                          กราฟที่ 1: วัตถุประสงค์หลักในการอ่านหนังสือพิมพ์รายวัน
   

   
                          กราฟที่ 2: วัตถุประสงค์ในการอ่านหนังสือพิมพ์ เปรียบเทียบระหว่างก่อนและหลัง
ประเทศประสบปัญหาวิกฤต
   

   
                          กราฟที่ 3: ความพึงพอใจต่อเนื้อหาสาระที่นำเสนอในสื่อหนังสือพิมพ์รายวันระดับชาติ
ในช่วงที่ประเทศชาติเผชิญวิกฤตด้านการเมืองการปกครอง
   

   
                          กราฟที่ 4: ความพึงพอใจต่อการทำหน้าที่ของสื่อหนังสือพิมพ์รายวันระดับชาติในช่วงที่
ประเทศชาติเผชิญวิกฤต
   

   
                          กราฟที่ 5:  ความคิดเห็นต่อสิทธิเสรีภาพของสื่อหนังสือพิมพ์ไทยในยุคปัจจุบัน
   

   
                          กราฟที่ 6: ความคิดเห็นต่อสิทธิเสรีภาพของสื่อหนังสือพิมพ์ในยุครัฐบาล พล.อ.สุรยุทธ์ จุลานนท์
เปรียบเทียบกับยุครัฐบาล พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร พบว่า
   

   
                          กราฟที่ 7: ความคิดเห็นต่อแนวคิดเรื่องเสรีภาพของสื่อหนังสือพิมพ์กับความเที่ยงตรง
ในการนำเสนอข่าวสาร  และประโยชน์ที่สังคมโดยส่วนรวมจะได้รับ

7.1 ถ้าสื่อหนังสือพิมพ์มีเสรีภาพมากขึ้น การนำเสนอข่าวสารจะเที่ยงตรงตามความเป็นจริงมากขึ้น




7.2 ถ้าสื่อหนังสือพิมพ์มีเสรีภาพมากขึ้น จะทำให้ประชาชนและสังคมส่วนรวมได้รับประโยชน์มากขึ้น

   

   
                          กราฟที่ 8: ความคิดเห็นต่อจรรยาบรรณและความรับผิดชอบของสื่อหนังสือพิมพ์ในปัจจุบัน
   

   
                          กราฟที่ 9: ความเห็นต่อกลไกที่เหมาะสมในการควบคุมดูแลเรื่องจรรยาบรรณของสื่อหนังสือพิมพ์
   

   
                          กราฟที่ 10: การรู้จักและรับรู้ต่อบทบาทการดำเนินงานของสภาการหนังสือพิมพ์แห่งชาติ
   

   
     
    สามารถทำการ Vote ได้วันละ 1 ครั้ง
    Vote:  ดีมาก(5) ดี (4) ปานกลาง(3) พอใช้ (2) แย่ (1)  
    Download document file:   ( เสรีภาพและความรับผิดชอบของสื่อหนังสือพิมพ์ท่ามกลางวิกฤตประเทศ )
   
   

ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์ ( Email: research@bu.ac.th )

   

โทร. 0-2350-3500 ต่อ 1776